วันพุธที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 19 เดือน กันยายน   พ.ศ.2557

 กลุ่มเรียน104  เวลา 13.00-16.40 น.




กิจกรรมในวันนี้คือ กิจกรรมวาดภาพสัมพันธ์กัน

อุปกรณ์

1.กระดาษ A4
2.ไม้เสียบลูกชิ้น
3.กาว
4.เทปกาว
5.สีไม้ สีเมจิกที่ใช้ตกแต่ง

วิธีการทำ

1. แบ่งกระดาษ A4 ให้เป็น 4 ส่วนเท่าๆกัน แล้วพับกระดาษเป็น2 ด้าน คือ ซ้าย ขวา
2.ให้วาดภาพตามจินตนาการที่มีความสัมพันธ์กัน ทั้งซ้าย และ ขวา
3.วาดภาพเสร็จแล้ว ตกแต่งระบายสีให้สวยงาม
4.นำไม้เสียบลูกชิ้นมาติดไว้ตรงกลางของกระดาษ โดยใช้เทปกาว แปะไว้
5.จากนั้น นำกาวมาติดให้กระดาษปะกบกัน
วิธีการเล่น/สังเกต
หมุนไม้เสียบลูกชิ้นเร็วๆ จะสังเกตได้ว่า รูปภาพที่เราวาดลงไป ทั้งด้านซ้ายและด้านขวา จะมารวมเป็นภาพเดียวกันอย่างสวยงาม

ตัวอย่าง ภาพสัมพันธ์ของฉันคือ กบ กับ ใบบัว






**เนื้อหาการเรียนการสอน**





การนำไปประยุกต์ใช้

ความรู้ที่ได้จากการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆ สามารถนำไปบอกเพื่อนๆคนอื่นๆ หรือเด็กๆ ได้ว่า การที่เราหมุนวัตถุเร็วๆ จะทำให้เกิดภาพที่มาซ้อนกันได้ และ ได้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เด็กๆต้องเรียนอย่างเป็นขั้นตอน และได้ลงมือเอง จึงจะส่งผลต่อการเรียนรู้ในระยะยาว


วิธีการ/เทคนิคการสอน

อาจารย์จะใช้ Power Point ประกอบในการเรียนการสอน อธิบายและ ยกตัวอย่างมาเสนอ
ใช้เทคนิคการถาม-ตอบกับนักศึกษา โดยให้นักศึกษาช่วยกันหาคำตอบ


ประเมินตนเอง

สนใจทำกิจกรรมเป็นอย่างมาก ตั่งแต่ขั้นตอนที่ให้วาดรูป สงสัยว่าอาจารย์จะให้ทำอะไร วาดรูปกับวิทยาศาสตร์ วิธีไหน แล้วสุดท้ายก็ได้รู้ หลังทำกิจกรรมเสร็จ
และในข้อมูลเนื้อหาการเรียนการสอน ก็ได้จดบันทึกการเรียนการสอนไว้ และเน้นในประโยคหรือหัวข้อที่สำคัญๆ


ประเมินเพื่อน

เพื่อนๆตั้งใจทำกิจกรรมกันมาก ทุกคน จะนำผลงานของตนเองไปอวดอ้างกับเพื่อนที่นั่งข้างๆ
ส่วนการเรียนการสอน เพื่อนๆหลายคนก็จะจดบันทึกไว้ ในขณะที่อาจารย์ทำการสอนและอธิบายเนื้อหาให้เข้าใจ


ประเมินอาจารย์

อาจารย์จะให้นักศึกษาลองทำกิจกรรมไปก่อนโดยจะไม่บอกว่า จะเกิดผลอย่างไร จะปล่อยให้นักศึกษา ลุ้นกับกิจกรรมที่ทำ
ส่วนเรื่องเนื้อหา อาจารย์สอนได้เข้าใจ และอธิบายได้ชัดเจน



  

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 12 เดือน กันยายน   พ.ศ.2557

 กลุ่มเรียน104  เวลา 13.00-16.40 น.







                               **เนื้อหาที่เรียนในวันนี้**









การนำไปประยุกต์ใช้


นำความรู้ที่ได้ในวันนี้ ไปสร้างเสริมประสบการณ์และจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ของเด็กๆ และเน้นให้เด็กได้ลงมืิทดลอง เรียนรู้และ ค้นพบสิ่งต่างๆด้วยตนอง และสิ่งสำคัยคือ ไม่ปิดกั้นความเข้าใจ จินตนาการ และ ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กๆ



วิธีการ/เทคนิคในการสอน


อาจารย์ใช้  PowerPoint ประกอบการเรียนการสอน และใช้เทคนิคในารถามคำถามและตอบคำถาม กับนักศึกษา



ประเมินตนอง


ตั้งใจฟังที่อาจารยืบรรยาย และ การถาม-ตอบกับนักศึกษา และก็มีส่วนร่วมในการตอบคำถามด้วย แต่มีพูดคุยกับเพื่อนๆบ้าง และได้มีการจดบันทึกการเรียนการสอนในชั่วโมงด้วย



ประเมินเพื่อน


เพื่อนช่วยกันคิดหาคำตอบ ที่อาจารย์ส่งคำถามมา  บางคนก็มีการจดบันทึกการเรียนการสอนไว้ แต่ก็มีเพื่อนบางคน บางกลุ่ม ที่พูดคุยกันบ้าง



ประเมินอาจารย์


ใช้การตั้งคำถาม-ตอบคำถาม กับนักศึกษา และอธิบายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างประกอบได้ดี และ เนื้อหา/ข้อมูลชัดเจน



  

บันทึกอนุทินครั้งที่3

บันทึกอนุทินครั้งที่ 3

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา สุขสำราญ

วันที่5 เดือน กันยายน   พ.ศ.2557

 กลุ่มเรียน104  เวลา 13.00-16.40 น.



**เนื้อหาที่ได้เรียนในวันนี้** 












การนำไปประยุกต์ใช้

เมื่อเด็กมีคำถาม ข้อสงสัย หรือจินตนาการ เราไม่ควรที่จะไปปิดกั้นพัฒนาการ หรือความคิดของเด็กในช่วง นั้นๆ ควรเปิดดอกาสให้เด็กๆได้ใช้จินตนาการ ของตัวเด้กเองได้อย่างเต็มที่และเหมาะสม ซึ่งเราอาจจะช่วยในการแนะนำและส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และพัฒนาการของเขาต่อไปในทางที่ดี เหมาะสม และถูกต้อง

วิธีการ/เทคนิคในการสอน

ครุผู้สอนได้ใช้  powerPoint  ประกอบในการเรียนการสอน โดยได้อธิบายตาม  powerPoint และถาม-ตอบกับนักศึกษา


ประเมินตนเอง

ตั้งใจฟังเพื่อนที่ออกมานำเสนอบทความหน้าชั้นเรียน แต่ก็ยังไม่ค่อยเข้าใจ พร้อมทั้งได้จดบันทึกการเรียนการสอน ที่อาจารย์ได้สอน 

ประเมินเพื่อน

มีทั้งคนที่ต้งใจฟังอาจารย์ ตั้งใจฟังเพื่อนที่มานำเสนอบทความของตนเอง และก้มีทั้งคนที่ไม่ค่อยสนใจการเรียนนัก ชอบชวนกันพูดคุย

ประเมินอาจารย์

อาจารย์สอนและอธิบายได้ดี ในหัวข้อไหนที่นักศึกษาไม่เข้าใจ อาจารย์ก็จะอธิบายให้ฟังพร้อมยกตัวอย่างประกอบ ทำให้เห็นตัวอย่างที่ชัดเจน และเข้าใจมากขึ้น




วันอังคารที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 2

บันทึกอนุทินครั้งที่ 2

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา สุขสำราญ

วันที่29 เดือน สิงหาคม   พ.ศ.2557


**วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นกิจกรรมรับน้องใหญ่ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


 

วันพฤหัสบดีที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 1

บันทึกอนุทินครั้งที่ 1

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา สุขสำราญ

วันที่22เดือนสิงหาคม   พ.ศ.2557

กลุ่มเรียน104  เวลา 13.00-16.40 น.


          กิจกรรมในวันนี้

        

  วันนี้เป็นสัปดาห์แรกของการเรียนการสอนของวิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย โดยอาจารย์ได้แจก  Course Syllabus ให้กับนักศึกษาทุกคน เพื่อจะได้ทราบถึงการเรียน และเนื้อหากิจกรรมในแต่ละสัปดาห์ เพื่อผู้เรียนจะได้ไปศึกษาข้อมูลล่วงหน้ากันมาก่อนเข้าเรียน            และอาจารย์ได้พูดถึง กฏและกติกาในการอยู่ร่วมกัน ความเรียบร้อย การแต่งตัว การส่งงาน และให้มีความรับผิดชอบ และความซื่อสัตย์ โดยก่อนจบการเรียนอาจารย์ได้มอบหมายให้นักศึกษาทุกคน ไปสร้างบล็อก ของตัวเอง เพื่อที่จะได้เก็บงานไว้ในบล็อก 


สิ่งที่ได้รับในวันนี้


1.ได้รู้กฏและกติกากับเพื่อนร่วมห้อง2.ได้คำศัพย์ภาษาอังกฤษ3.ได้เจอเพื่อนร่วมห้องที่บางคนก็ไม่เคยเรียนด้วยกัน 


ประเมินตนเอง

ตั้งใจฟังกฏและกติกาที่อาจารย์อธิบายและทำการตกลงร่วมกันกับเพื่อนๆนักศึกษา และได้จดบันทึกกฏ กติกา ของการเรียนการสอนร่วมกัน ในห้อง

ประเมินเพื่อน

ตั้งใจฟังสิ่งที่อาจารยืกำลังพูดหน้าชั้นเรียน แต่ก็มีเพื่อนบางกลุ่ม บางคน ที่พูดคุยกันอยู่ และได้เห็นเพื่อนๆบางคนก็จดบันทึกการเรียนการสอนในวันนี้คือ การจดในสิ่งที่อาจารย์กับเพื่อนนักศึกษาตกลงร่วมกันในชั้นเรียน และให้ความร่วมมือการเรียนการสอนในชั่วโมงนี้เป็นอย่างดี

ประเมินอาจารย์

อาจารย์ได้อธิบายถึงกฏ กติกา และทำข้อตกลงกับนักศึกษาได้ชัดเจน และเข้าใจ 

      

บทความ วิทยาศาสตร์แสนสนุก



บทความการทดลองแสนสนุก

จากเว็บไซต์  www.kran.tv  โดยโพสเมื่อวันที่ 18 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2551

เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่มีความอยากรู้อยากเห็นต่อสิ่งแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา เพราะเป็นวัยที่มีการพัฒนาทางสติปัญญา
 สูงที่สุดของชีวิต ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นทักษะที่ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหา 
เหตุผล แสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาได้ ตามวัยของเด็ก ควรจัดกิจกรรมให้เด็ก 
ได้ลงมือกระทำด้วยตนเองจากสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว      ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 อันเป็นกระบวนการขั้นพื้นฐานหรือทักษะเบื้องต้นที่ควรส่งเสริมให้เด็กปฐมวัย ได้รับการพัฒนา
 มี 7 ทักษะกระบวนการ คือ
ดอกอัญชันทดสอบ กรด-ด่าง สารเคมีต่างๆที่อยู่ในผลิตภัณฑ์ของกินของใช้ประจำบ้านเรา
 เช่น ผงซักฟอก สบู่ก้อน น้ำยาล้างจาน น้ำส้มสายชู บางอย่างก็มีความเป็นกรด(รสเปรี้ยว) 
บางอย่างเป็นด่าง(รสฝาด) เราสามารถทดสอบกรด-ด่างได้อย่างปลอดภัย
สิ่งที่ต้องใช้         1.      ดอกอัญชัน(สีน้ำเงิน)  15 ดอก2.      นำร้อน3.     
 ผลิตภัณฑ์ที่ต้องการทดสอบ เช่น สบู่ก้อนต้ดเป็นชิ้นเล็กๆ น้ำมะนาว ผงซักฟอก น้ำส้มสายชู
 น้ำยา ล้างจาน
วิธีทดลอง นำดอกอัญชันมาแช่ในน้ำร้อนสักครู่ จะสังเกตว่ามีสีน้ำเงินละลายออกมาจากกลีบดอก
ทิ้งไว้จนกลีบดอกซีดจึงตักขึ้นนำน้ำสีน้ำเงินที่ได้แบ่งใส่แก้วใสตามจำนวนผลิตภัณฑ์ที่ต้องการทดสอบ
 และอย่าลืมเหลือสีเดิมไว้เปรียบเทียบด้วยนะติดป้ายชื่อผลิตภัณฑ์
 บนแก้วแต่ละใบเพื่อจะได้ไม่สับสนตอนบันทึกผลการทดลองเติมสารเคมีที่ต้องการทดสอบ 1 ช้อนชา
 ลงไปในแก้วแต่ละใบ แล้วคนให้เข้ากัน
ผลที่ได้ คือ  
น้ำสีน้ำเงินของดอกอัญชัน สามารถเป็นอินดิเคเตอร์ วัดความเป็นกรด-ด่างได้ 
โดยสารที่เป็นกรดจะทำให้น้ำเปลี่ยนเป็นสีม่วงแดงสารที่เป็นด่างจะทำให้น้ำเปลี่ยนเป็นสีเขียว
จากการทดลองดังกล่าว เด็กได้ทำการทดลองด้วยตัวเอง ได้เห็นผลลัพย์ที่เกิดขึ้นด้วยตัวเอง 
ทำให้เด้กเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง