วันอังคารที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 28 เดือน พฤศจิกายน   พ.ศ.2557

 กลุ่มเรียน104  เวลา 13.00-16.40 น.




วันนี้อาจารย์ให้ออกแบบการทำแผ่นพับ เพื่อให้ผู้ปกครองรู้ข่าวสารทางโรงเรียน
 





การนำไปประยุกต์ใช้
 
ที่ได้เรียนมาสามารถนำไปเป็นเทคนิคในการออกแบบแผ่นพับขัอมูลข่าวสารทางโรงเรียน
 
ที่ส่งไปให้ผู้ปกครอง วิธีการเขียน การเรียบเรียงเนื้อหาข้อมูล การใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย
 
ไม่ซับซ้อน
 
การประเมินตนเอง
 
ตั้งใจทำกิจกรรมในห้อง ฟังข้อเสนอแนะที่อาจารย์บอก ตั้งใจทำงานกลุ่ม ให้ความ
 
ร่วมมือกับเพื่อน
 
การประเมินเพื่อน
 
เพื่อนๆ มีความตั้งใจในการทำงาน ทุกกลุ่มทำงานได้ออกมาดี
 
ประเมินอาจารย์
 
อาจารย์มาสอนก่อนเวลา มีอุปกรณ์พร้อมในการสอน อธิบายเนื้อหาที่เด็กไม่เข้าใจได้
 
ละเอียดและเข้าใจง่าย



 

บันทึกอนุทินครั้งที่ 14

บันทึกอนุทินครั้งที่ 14

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 21 เดือน พฤศจิกายน   พ.ศ.2557

 กลุ่มเรียน104  เวลา 13.00-16.40 น.




วันนี้อาจารย์ให้นำสื่อการสอนมาส่ง

สื่อประเภทสอนเรื่อง แรงดันของน้ำ




สื่อประเภทสอนเรื่อง เสียง


สื่อประเภทสอนเรื่อง แรงลม

สื่อประเภทสอนเรื่อง แรงโน้มถ่วง



กิจกรรมที่ 2 ทำวาฟเฟิล











กิจกรรมที่ 3 เพื่อนออกมานำเสนองานวิจัย
 
- เรื่อง ผลการจัดประสบการณ์โดยเน้นทักษะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาล 2
 
ผู้วิจัย ศรีนอน ศรีอ่ำ
 
- เรื่อง การพัฒนาชุดการสอนหน่อยวิทยาศาสตร์น่ารู้ ชั้นอนุบาล 2
 
ผู้วิจัย สถิตย์  ศรีถาวร
 
- เรื่องความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรม กระบวนการ
 
ทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
 
- เรื่อง การพัฒนาทักษะพื้นฐานในการจัดกิจกรรมทำน้ำสมุนไพร
 
โทรทัศน์
 
- เรื่อง กิจกรรมส่องนกนอกห้องเรียน
 
- เรื่อง สอนเด็กอย่างไรให้มีจิตวิทยาศาสตร์
 
- เรื่อง จุดประกายนักวิทยาศาสตร์น้อย
 
การประยุกต์ใช้
 
ใช้ในการสอนวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัยผ่านสื่อ และวิธีการทำขนมวาฟเฟิลที่เด็ก ๆ มีส่วนร่วม
 
การประเมินตนเอง
 
ตั้งใจฟังอาจารย์สอน และตั้งใจทำกิจกรรมในห้องเรียน เข้าเรียนตรงเวลา
 
การประเมินเพื่อน
 
เพื่อนๆ มีความตั้งใจในการทำกิจกรรม
 
การประเมินอาจารย์
 
อาจารย์สอนสนุก มีกิจกรรมให้นักศึกษาฝึกทำ อาจารย์อธิบายวิธีการทำ และเทคนิคกาสอนเด็กทำ
 Cooking 




บันทึกอนุทินครั้งที่ 13

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 14 เดือน พฤศจิกายน   พ.ศ.2557

 กลุ่มเรียน104  เวลา 13.00-16.40 น.





วันนี้นำเสนอแผนการสอนต่อค่ะ

กลุ่มที่ 7 แปรงสีฟัน

สอนเรื่อง ชนิดของแปรงสีฟัน



กลุ่มที่ 8  เรื่องกล้วย
 
สอนเรื่อง  ชนิดของกล้วย
 


กลุ่มที่ 9  เรื่องผีเสื้อ

สอนเรื่อง  ส่วนประกอบของผีเสื้อ




กิจกรรมที่ 2 ทาโกยากิ
 


กิจกรรมที่ 3 เพื่อนออกมานำเสนอวิจัย
 
- วิจัยเรื่อง ความสามารถของการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
นอกห้องเรียน
 
- วิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวันที่ได้รับการจัดกิจกรรม
 
การเรียนการสอนแบบจิตปัญญา
 
ประยุกต์ใช้
 
ใช้ในการสอนเด็กตามแผนการสอน วิธีการสอนเด็กทำทาโกยากิ
 
ประเมินตนเอง
 
ตั้งใจทำกิจกรรมในห้องเรียน ตั้งใจจดบันทึกสิ่งที่อาจารย์เสนอแนะ
 
ประเมินเพื่อน
 
เพื่อนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม มีความตั้งใจ แต่งกายถูกระเบียบ
 
ประเมินอาจารย์
 
อาจารย์สอนสนุก มีกิจกรรมให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติ มีข้อเสนอแนะ


 

บันทึกอนุทินครั้งที่ 12

บันทึกอนุทินครั้งที่ 12

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 7 เดือน พฤศจิกายน   พ.ศ.2557

 กลุ่มเรียน104  เวลา 13.00-16.40 น.


 วันนี้อาจารย์ให้มานำเสนอแผนการสอนแต่ละหน่วย


 กลุ่มที่ 1 กบ

สอนเรื่อง ส่วนประกอบของกบ

- เพื่อน ๆ นำเข้าสู่บทเรียนด้วยเพลง กบ




กลุ่มที่ 2 กะหล่ำปลี
 
สอนเรื่อง ประโยชน์/ ข้อควรระวัง
 

 


กลุ่มที่3 ส้ม
 
สอนเรื่อง ประโยชน์ของส้ม
 
กลุ่มที่ 4 เรื่อง ดอกมะลิ
 
สอนเรื่อง ประโยชน์ของดอกมะลิ




กลุ่มที่ 5 ไก่
 
สอนเรื่อง การดำรงชีวิตของไก่



กลุ่มที่ 6 ปลา
 
สอนเรื่อง ประโยชน์ของปลา


 ความรู้ที่ได้รับ
 
รู้วิธีการเขียนแผนนำไปสอนเด็ก  เทคนิคการสอนหน่วยต่าง ๆ วิธีการนำเข้าสู่บทเรียนของ
 
เพื่อนแต่ละกลุ่ม
 
ประยุกต์ใช้
 
นำไปเป็นแนวทางในการสอนเด็กหน่วยต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับวัยของเด็ก
 
ประเมินตนเอง
 
มาเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอ
 
ประเมินเพื่อน
 
เพื่อน ๆ เตรียมอุปกรณ์มานำเสนอแผน มีความรับผิดชอบในงานที่ตนเองได้รับมอบหมาย
 
ประเมินอาจารย์
 
อาจารย์บอกเทคนิควิธีการสอนเด็ก การลำดับขั้นกิจกรรมก่อน หลัง การจัดกิจกรรมให้น่าสนใจ
 
 



บันทึกอนุทินครั้งที่ 11

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 24 เดือน ตุลาคม   พ.ศ.2557

 กลุ่มเรียน104  เวลา 13.00-16.40 น.




วันนี้อาจารย์ให้นำของเล่นวิทยาศาสตร์ที่ได้ประดิษฐ์มานำเสนอ

ของเล่นวิทยาศาสตร์ของดิฉันคือ "ขวดน้ำหนังสติ๊ก"

อุปกรณ์

- ขวดน้ำพลาสติก

- หนังยาง

- เชือก/ไหมพรม

-ไม้จิ้มฟัน

- คัตเตอร์

- กรรไกร

วิธีการทำ

- นำขวดพลาสติกทั้งขวดเล็ก และขวดใหญ่มา ตัดครึ่ง และใช้ส่วนหัว ของขวด

- เจาะรูตรงกลางฝาของขวดทั้ง 2 ขวด

- เจาะรูตรงขวดให้ รูตรงข้ามกัน
- ใช้เชือก/ไหมพรม สอดเข้าฝาขวด ของฝาขวดเล็กไปยังฝาขวดใหญ่ และทำปมด้วยการใช้ไม้จิ้มฟันในการ ทำปมไว้
- นำขวดพลาสติกขวดเล็กไปซ้อนในขวดพลาสติดขวดใหญ่

- นำยาง มามัดเป็นตัวยึดตรงรูของขวดเล็ก และขวดพลาสติกขวดใหญ่ให้ติดกัน

วิธีการเล่น

นำกระสุนใส่ไว้ในขวดพลาสติกขวดเล็กแล้วดึงเชือก/ไหมพรม ที่เตรียมไว้ แล้วยิงออกไป

สอนวิทยาศาสตร์เด็ก

ในขณะที่ยืดเชือก/ไหมพรม ที่พร้อมจะยิง จะเกิดพลังงานศักย์ที่หนังยาง และ ถ้ายิงออกไปแล้ว จะเกิดพลังงานจลล์ที่ลูกกระสุน





ชื่อของเล่นที่เพื่อนนำเสนอ



- จรวดด้วยแรงเป่า                    

- เครื่องบินกระดาษ

- กระป๋องโยกเยก                        

- ป.ปลาตากลม

- แก้วกระโดด                              

- บูมดมอแรง

- กบกระโดด                                

- ปืนยิงลูกบอลจากลูกโป่ง

- ธนูจากไม้ไอติม                        

- กระป๋องผิวปาก

- ตุ๊กตาโยกเยก                            

- เรือโจรสลักลอยน้ำ

- กังหันบิน                                  

- ไก่กระต๊าก

- แท่งยิง                                      

- เขาวงกต

- กงจักรมหัศจรรย์                        

-  หนูวิ่ง

- รถพลังลมลูกโป่ง                      

 - ลูกข่างจากแผ่นซีดี

- รถจากกระป๋องโค๊ก                    

- ไหมพรมเต้นรำ

- ป๋องแป๋ง                                      

- โมบายสีรุ้ง

- ฟองสบู่แสนเพลิน                        

- ขวดน้ำหนังสติ๊ก

- รถหลอดด้าย                                

- จั๊กจั่น

- กลองแขก                                    

- ประทัดกระดาษ

 - รถล้อเดียว                                  

- เป่าลมรถ

- เรือใบไม่ล่ม                                

- ทะเลในขวดน้ำ

- แก้วส่งเสียง





ความรู้ที่ได้รับ


ได้รู้วิธีการประดิษฐ์สื่อแต่ล่ะชิ้นที่เพื่อนนำมาเสนอ รู้เทคนิคการใช้สื่อสอนเด็ก การเลือกสื่อซื้อเด็ก

สื่อแต่ละชิ้นที่ทำให้เด็กควรมีคงทน แข็งแรง

การประยุกต์ใช้

วิธีการเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับเด็ก  

 ประเมินตนเอง

ตั้งใจฟังเพื่อนออกมานำเสนอสื่อ และจดบันทึกคำแนะนำของอาจารย์เรื่องสื่อที่เหมาะสมกับเด็ก

ประเมินเพื่อน

เพื่อน ๆ  ตั้งใจนำเสนอสื่อของตนเอง และตั้งใจฟังข้อเสนอแนะของอาจารย์

ประเมินอาจารย์

อาจารย์มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสื่อที่นักศึกษาทำมา อาจารย์บอกถึงการเลือกสื่อให้เหมาะสมกับเด็ก

และเทคนิคการทำสื่อให้กับเด็ก